พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร แก่บัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๙
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร แก่บัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๙
"งานสิ่งใดสาขาใดที่ท่านจะออกไปปฏิบัตินั้น ไม่มีสักสิ่งเดียวที่จะสำเร็จสมบูรณ์ได้ในตัวเอง หากจะต้องเกี่ยวเนื่องถึงงานอื่น ๆ อีกหลายๆด้าน. ทั้งนี้เพราะงานต่าง ๆ นั้น เมื่อพิจารณาดูแล้วจะเห็นว่า แท้จริงย่อมเป็นปัจจัยส่งเสริมเกื้อกูลกันอยู่เป็นส่วนมาก และย่อมประกอบกันเข้าเป็นงานส่วนรวมอันเดียวกันของบ้านเมืองด้วย ดังนั้นงานแต่ละชิ้นแต่ละส่วน จึงต้องปฏิบัติให้ประสานสอดคล้องกัน ทั้งให้สำเร็จและให้พัฒนาไปพร้อมๆกัน โดยเท่าเทียมกัน เพื่อมิให้ส่วนหนึ่งส่วนใดหยุดชะงักและพาให้ส่วนรวมรวนเรล่าช้าไปทั้ง กระบวน. ท่านทั้งหลายควรจักได้เตรียมตัวเตรียมใจให้พร้อม ที่จะปฏิบัติงานประสานกับบุคคลอื่นฝ่ายอื่นอย่างขะมักเขม้นและฉลาดเหมาะสม "
ทำเนียบผู้สำเร็จการศึกษา
ทางโรงเรียนขอแสดงความยินดีแก่ผู้สำเร็จการศึกษาทุกท่าน
There are these two young fish swimming along, and they happen to meet an older fish swimming the other way, who nods at them and says, “Morning, boys, how’s the water?” And the two young fish swim on for a bit, and then eventually one of them looks over at the other and goes, “What the hell is water?”
|
ปลาหนุ่มสองตัวว่ายน้ำมาด้วยกัน พอดีสวนกับปลาแก่ซึ่งกล่าวทักทายว่า “อรุณสวัสดิ์ หนูๆ น้ำเป็นยังไง” (การทักทายว่า “อากาศเป็นยังไง” ก็เป็นการทักทายกันตามปกติ) ปลาหนุ่มสองตัวว่ายต่อไปอีกนิดหนึ่งพอพ้นระยะได้ยินเสียง ปลาหนุ่มมองหน้ากันแล้วถามว่า “น้ำคืออะไรวะ”
|
“Learning how to think” really means learning how to exercise some control over how and what you think. It means being conscious and aware enough to choose what you pay attention to and to choose how you construct meaning from experience. Because if you cannot exercise this kind of choice in adult life, you will be totally hosed. Think of the old cliché about “the mind being an excellent servant but a terrible master.”
|
การเรียนรู้ที่จะคิดนั้น ที่จริงหมายถึงการเรียนรู้ที่จะควบคุม(ได้บ้าง)ว่าคิดอย่างไรและคิดอะไร มันหมายถึงการมีทั้งสติและสัมปชัญญะ พอที่จะเลือกว่าจะสนใจอะไร และพอที่จะเลือกว่าจะตีความหมายอย่างไร ถ้าหากว่าไม่สามารถเลือกได้ด้วยสติสัมปชัญญะ ชีวิตของคุณย้วยแน่ ลองนึกถึงคำคมเก่าแก่อันหนึ่งเถิด “ความคิดเป็นผู้รับใช้ที่ยอดเยี่ยม แต่เป็นนายที่ห่วยแตก”
|
Our own present culture has harnessed these forces in ways that have yielded extraordinary wealth and comfort and personal freedom. The freedom all to be lords of our tiny skull-sized kingdoms, alone at the centre of all creation. This kind of freedom has much to recommend it. But of course there are all different kinds of freedom, and the kind that is most precious you will not hear much talk about much in the great outside world of wanting and achieving…. The really important kind of freedom involves attention and awareness and discipline, and being able truly to care about other people and to sacrifice for them over and over in myriad petty, unsexy ways every day.
|
วัฒนธรรมของเราในปัจจุบันได้ยึดโยงบังคับให้มุ่งแสวงหาความมั่งคั่ง ความสะดวกสบาย และ “อิสระส่วนตัว” อิสระที่จะเป็นเจ้าแห่งอาณาจักรที่มีขนาดเท่ากับกระโหลกซึ่งเป็นศูนย์กลางแห่งการสร้างสรรค์ทั้งปวง อิสระเหล่านี้ก็มีสิ่งดีอยู่มากมาย แน่นอน ยังมีอิสรภาพแบบอื่นอีก เป็นแบบที่มักจะไม่ค่อยได้เห็นในโลกข้างนอก อิสรภาพแบบที่สำคัญมากๆอันนี้ เกี่ยวข้องกับความสนใจ การตระหนักรู้ วินัย ความพยายาม และความรู้สึกเป็นห่วงเป็นใยเอาใจใส่ต่อผู้อื่นอย่างแท้จริง รู้จักเสียสละเพื่อผู้อื่นทุกวันๆ ซ้ำแล้วซ้ำอีก แม้ว่าจะรู้สึกเห่ยอย่างเหลือคณานับ
|
That is real freedom. That is being educated, and understanding how to think. The alternative is unconsciousness, the default setting, the rat race, the constant gnawing sense of having had, and lost, some infinite thing.
|
(จิตอาสา)นั่นแหละคืออิสรภาพที่แท้จริง ส่วนอีกทางหนึ่งคือกระทำไปโดยไร้สำนึก อัตโนมัติ ไม่รู้ตัว เหมือนหนูถีบจักร-วิ่งไปเรื่อยๆโดยไม่รู้ว่าวิ่งไปทำไม-รู้สึกกัดกร่อนทรมานกับการได้มาและสูญเสียไปไม่รู้จบสิ้น
|
It is about the real value of a real education, which has almost nothing to do with knowledge, and everything to do with simple awareness; awareness of what is so real and essential, so hidden in plain sight all around us, all the time, that we have to keep reminding ourselves over and over:
“This is water.” “This is water.” It is unimaginably hard to do this, to stay conscious and alive in the adult world day in and day out. Which means yet another grand cliché turns out to be true: your education really IS the job of a lifetime. And it commences: now. I wish you way more than luck. |
คุณค่าของการศึกษาที่แท้จริง ซึ่งไม่เกี่ยวกับความรู้(มือสอง)เลย คือคำง่ายๆ คำเดียว “การตระหนักรู้” — เป็นความรู้ตัวที่เป็นจริงและจำเป็นเหลือเกิน แต่กลับถูกซ่อนอยู่รอบตัวเรา จึงต้องหมั่นเตือนตัวเองอยู่ตลอดเวลา
“ถ้าเป็นปลา ต้องรู้นะว่ามีน้ำอยู่” เป็นเรื่องที่ยากอย่างอย่างที่ไม่สามารถจะประมาณได้ ที่จะ(ตระหนัก)รู้ตัวอยู่ตลอดเวลา ซึ่งนั่นก็ทำให้นึกถึงคำคมโบราณอีกคำหนึ่ง คือการศึกษานั้นเป็นงานที่ทำตลอดชีวิต และงานนั้นเริ่มต้นตั้งแต่เดี๋ยวนี้เลย (วันที่จบการศึกษา) ขอให้มีมากกว่าโชคครับ |
Cr : lanpanya.com
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
มิถุนายน พ.ศ. 2565
มิถุนายน พ.ศ. 2565
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
กันยายน พ.ศ. 2562
กันยายน พ.ศ. 2562
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
สิงหาคม พ.ศ. 2561
สิงหาคม พ.ศ. 2561
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
เมษายน พ.ศ. 2560
เมษายน พ.ศ. 2560
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
มีนาคม พ.ศ. 2560
มีนาคม พ.ศ. 2560
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
ตุลาคม พ.ศ. 2559
ตุลาคม พ.ศ. 2559
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
กรกฎาคม พ.ศ. 2559
กรกฎาคม พ.ศ. 2559
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
พฤษภาคม พ.ศ. 2559
พฤษภาคม พ.ศ. 2559
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
เมษายน พ.ศ. 2559
เมษายน พ.ศ. 2559
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
ตุลาคม พ.ศ. 2558
ตุลาคม พ.ศ. 2558
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
กันยายน พ.ศ. 2558
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
มิถุนายน พ.ศ. 2558
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
มกราคม พ.ศ. 2558
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
ธันวาคม พ.ศ. 2557
ผู้สำเร็จการศึกษาในเดือน
กันยายน พ.ศ. 2557
"ถ้าเป็นปลา ต้องรู้จักน้ำ"